LAWS AND REGULATIONS

ฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 (3) และมาตรา 8 บัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยคณะกรรมการควบคุมอาคาร
ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้


• ข้อ 1 ให้ยกเลิกข้อ 5 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม การก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479
• ข้อ 2 ที่จอดรถ 1 คัน ต้องเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า และต้องมีลักษณะและขนาดในกรณีที่จอดรถขนานกับ แนวทางเดินรถหรือทำมุมกับแนวทางเดินรถสามสิบองศาให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาว ไม่น้อยกว่า 6.00 เมตร


2) ในกรณีที่จอดรถตั้งฉากกับแนวทางเดินรถให้มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.00 เมตร แต่ทั้งนี้จะต้องไม่จัดให้มีทางเข้าออกของรถเป็นทางเดินรถในกรณีที่จอดรถทำมุมกับแนวทางเดินรถ มากกว่าสามสิบองศา กว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร และความยาวไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร

• ข้อ 3 ที่จอดรถแต่ละคันต้องมีเครื่องหมายแสดงลักษณะและขอบเขตของที่จอดรถไว้ให้ปรากฏบนพื้นและต้องมีทางเดินรถเชื่อมต่อ โดยตรงกับทางเข้าออกของรถและที่กลับ
• ข้อ 4 ระยะความสูงสุทธิระหว่างพื้นที่ที่ใช้จอดรถทางเดินรถ และทางลาดขึ้นลงของรถกับส่วนที่ต่ำสุดของชั้นที่ถัดไปของอาคาร ต้องไม่น้อยกว่า 2.10 ส่วนของพื้นที่ที่ใช้จอดรถต่างระดับกันจะเหลื่อมกันไป เฉพาะส่วนที่เหลื่อมกันจะมีความสูงน้อยกว่า 2.10 เมตรก็ได้
• ข้อ 5 จะต้องมีระยะของทางเดินรถจากปากทางเข้าถึงลิฟต์ไม่น้อยกว่า 20อาคารตามวรรคหนึ่งจะไม่มีทางลาดขึ้นลงของรถ และ ลิฟต์ที่ใช้สำหรับยกรถขึ้นลงระหว่างชั้นของอาคารตภายในตัวอาคารโดยให้มีลิฟต์หนึ่งเครื่องต่อที่จอดรถ 30 คัน แต่ทั้งนี้ต้อง ไม่น้อยกว่า 2 เครื่องต่ออาคารหนึ่งหลังและห้ามใช้เป็นลิฟต์โดยสาร
• ข้อ 6 อาคารจอดรถซึ่งติดตั้งระบบเคลื่อนย้ายรถด้วยเครื่องจักรกลที่ได้รับการคำนวณออกแบบเพื่อใช้ประโยชน์ในการจอดรถ โดยเฉพาะต้องมีระยะของทางเดินรถจากปากทางเข้าถึงอาคารไม่น้อยกว่า 20

2) พื้นหรือผนังของอาคารต้องอยู่ห่างจากเขตที่ดินของผู้อื่นและถนนสาธารณะดังนี้ (ก) ในกรณีที่มีความสูงของอาคารจากพื้นดินตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไปต้องอยู่ห่าง ในกรณีที่มีความสูงของอาคารจากพื้นดินน้อยกว่า 23.00 เมตร การคำนวณออกแบบอาคารจอดรถตามวรรคหนึ่งต้องมีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วย นำความในข้อ 2 ข้อ 3 และข้อ 4 มาใช้บังคับ
• ข้อ 7 ระหว่างชั้นของอาคารด้วยลิฟต์และระบบเคลื่อนย้ายรถด้วยเครื่องจักรก ออกแบบเพื่อใช้ประโยชน์ในการจอดรถโดยเฉพาะต้อง ดำเนินการโดยผู้ได้รับอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประเภทสามัญวิศวกรขึ้นไปตามกฎหมายว่าด้วย

ให้ไว้ ณ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2537
พลเอก ชวลิต ยงใจยุธ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการกำหนดลักษณะและขนาดของที่จอดรถตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พทธศักราช ซึ่งยังใช้บังคับอยู่ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 79 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และนอกจากนี้สมควรกำหนดลักษณะ ของอาคารจอดรถซึ่งติดตั้งระบบยกรถขึ้นลงระหว่างชั้นของอาคารด้วยลิฟท์ ด้วยเครื่องจักรกล ที่ได้รับการคำนวณออกแบบเพื่อใช้ประโยชน์ในการจอดรถโดยเฉพาะ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบันซึ่งปรากฏว่าเนื้อที่ที่ใช้สำหรับการจอดเพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงแข็งแรง ความปลอดภัยและการอำนวยความสะดวกแก่การ จราจรจึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้